วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556


งานวิจัย



สรุปงานวิจัย

ชื่อวิจัยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยดวยกิจกรรมเกมการศึกษาลอตโต

ผู้วิจัย  วรรณี วัจนสวัสดิ

ความสำคัญของการวิจัย 

การวิจัยครั้งนี้ทําใหทราบถึงทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับกิจกรรม
เกมการศึกษาลอตโต เพื่อเปนแนวทางสําหรับครู ผูปกครอง และผูที่เกี่ยวของในการสงเสริมและพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร  รวมทั้งการจัดกิจกรรมการเลนใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

กลุ่มตัวอย่าง

ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนเด็กปฐมวัยชายหญิง อายุ4–5 ปที่กําลังศึกษาอยูใน
ชั้นอนุบาลปที่2 ภาคเรียนที่2 ปการศึกษา2551 สวนการศึกษาอนุบาลโรงเรียนไผทอุดมศึกษา
กรุงเทพมหานคร สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน เขตพื้นที่การศึกษา จํานวน243 คน

สรุปผลการวิจัย

1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยหลังการทํากิจกรรมเกมการศึกษา
ลอตโตโดยรวมและรายดานคือ ดานการสังเกตเปรียบเทียบ ดานการจัดหมวดหมู ดานการเรียงลําดับ
ดานการรูคาจํานวน  สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01
2. เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรหลังการทํากิจกรรมเกมการศึกษาลอตโตทั้ง
โดยรวม และรายดาน  มีการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงขึ้น  ในรายดานทักษะ
พื้นฐานทางคณิตศาสตรดานการจัดหมวดหมูเปนอันดับแรก รองลงมาคือ ดานการสังเกตเปรียบเทียบ
ดานการเรียงลําดับ และดานการรูคาจํานวนตามลําดับ



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16



วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

อาจารย์นัดสอบในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13.00 น.
อาจารย์แจกกกระดาษ และให้หัวข้อว่า เรียนวิชานี้ 
-ได้ความรู้อะไร 
-ได้ทักษะอะไร 
-และเขียนถึงวิธีสอน


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15


วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556


ดูสาธิตการสอน เรื่องอวัยวะ(ร่างกาย)

วันที่ 1
-เด็กๆรู้จักอวัยวะอะไรบ้างค่ะ
-อวัยวะภายนอกของเด็ก ๆ มีอะไรบ้างค่ะ 
-ก่อนตอบให้เด็กยกมือตอบ 
-ครูติดภาพบนกระดาน 
- ให้เด็กช่วยกันนับ 

วันที่ 2
-ทบทวนความรู้เดิมจากเมื่อวานนี้ 
-มีรูปภาพอวัยวะมาให้เด็กสังเกตุแล้วเริ่มเขียน Map 
-ให้เด็ก ๆ ลองสัมผัสใบหูของเพื่อนข้างๆ แล้วถามว่ามีมีพื้นผิวอย่างไร
 -ให้เด็กสังเกตุใบหู  ใบหูของทุกคนมีสีผิวไม่เหมือนกันเพราะขึ้นอยู่กับสีผิว

วันที่
-ครูนำรุปอวัยวะต่าง ๆ มาให้เด็กดู 
-อะไรที่หูกับจมูกเหมือนกัน ทบทวนความรู้เดิมจากเมื่อวานที่เด็กได้รู้จักใบหู 
-สรุปอวัยวะของเราที่มีหน้าที่แตกต่างกัน

วันที่ 4
-เด็กค่ะเมื่อวานเรียนเรื่องอะไรไปบ้างค่ะ
-มีอวัยวะอะไรบ้าง 
-ครูมีนิทานมาเล่าให้เด็กฟัง 
-ถามเนื้อเรื่องนิทานมีประโยชน์อะไรบ้างค่ะ
-ครูสรุปหน้าที่กับประโยชน์ใกล้เคียงกัน สุดท้ายอาจสรุปเป็น Map นำเสนอ

วันที่
-ทบทวนความรู้เดิมจากเมื่อวานนี้ 
-วิธีดูแลรักษาอวัยวะของร่างกายเรา 
-ครู ถามเด็กว่า ถ้ามือเปลื่อนฝุ่นเรานำมือไปขยี้ตาได้หรือไม่ค่ะ 
- แล้วเราต้องทำอย่างไรค่ะ
-เด็ก ๆ ไม่ควรดู TV ใกล้เพราะจะทำให้สายตาสั้น 
-ครูและเด็กสรุปผลร่วมกัน


-งานที่ได้รับหมอบหมาย
มาตรฐานทางคณิตศาสตร์










บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14


วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ดูสาธิตการสอนของเพื่อน เรื่องกระดุม

วันที่ 1

-ให้เด็กสำรวจร่างกายตัวเอง
-ถามเด็กว่าทรายมั้ยว่ามีกระดุมกี่ชนิด
-ให้เด็กเปรียบเทียบกระดุมโลหะกับกระดุมอโลหะ
-เวลาเด็กบอกชนิดกระดุมที่เด็กรู้จัก ครูควรจดเป็น My Map
-นำกระดุมใส่ถุงซิปแล้วนำมาให้เด็กได้ดูความหลากหลายของชนิดของกระดุม

วันที่ 2
-ทบทวนความรู้เดิมจากเมื่อวานนี้
-เด็กๆนำกระดุมมาให้เด็กดูแล้วถามเด็กว่ากระดุมมีรูปทรงอะไร
-เขียนตารางความสัมพันธ์ของกระดุมแต่ละชนิด

วันที่ 3
-ถามเด็กๆว่ากระดุมใช้ทำอะไรได้บ้าง
-ถามเด็กๆว่ากระดุมที่ครูถืออยู่เป็นรูปอะไร
-นำกระดุมแต่ละชนิดมาติดให้เด็กดู แต่งนิทานเรื่องประโยชน์ของกระดุม

วันที่ 4
-ให้เด็กนำกระดุมที่เด็กชอบ และนำมาใส่กล่อง
-ครูสรุปผลร่วมกันกับเด็ก
-มีการใช้คำถามว่า 


งานที่ได้รับมอบหมาย
- My maping มาตรฐานคณิตศาสตร์ลงบล็อค

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วัน อังคาร ที่ 29 มกราคม พ.ศ.2556

-วันนี้อาจารย์นัดประชุมทั้ง 2 ห้อง
  อาจารย์พูดเรื่องการจัดกิจกรรมกีฬาสีเอก
  การเลือกโรงเรียนที่จะสังเกตการสอน
  คุยงานการแสดงศึกษาศาสตร์ทาเลนต์



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วัน อังคาร ที่ 22 มกราคม พ.ศ.2556

อาจารย์พูดถึงเรื่อง บล็อก  หางานวิจัยใส่ แล้วสรุปสั้นๆๆ หา2-3เรื่อง

สอบสอบเรื่องขนมไทย


วันที่ 1 ชื่อขนมไทย

-เด็กรู้จักขนมอะไรบ้างค่ะ 

-ลองดูจากภาพสิค่ะ-พร้อมนำตัวเลขไปติดกำกับ

วันที่ 2 ลักษณะรูปร่างของขนมไทย


- นับจำนวนขนมทั้งหมด 

-นำเลขฮินดูอารบิกมาแทนค่าของจำนวนขนมที่นับได้
-แยกขนม ประเภทที่มีสีเหลือง- เรียงขนมจากซ้ายไปขวา 
-ถามเด็กว่าอยากชิมขนมกันมั้ยค่ะ
- ครูแบ่งครึ่งขนม
 - ครูวางเรียงขนมชั้น เม็ดขนุน สลับกัน 
- ให้เด็ก ๆ ออกมาเรียงตามแบบ
-เล่นเกมจับคู่ภาพเต็มกัภาพที่แยกเป็นส่วนๆ

เพิ่มเติม
-เด็กอายุเท่าไร  
-สอนวันถัดไป ต้องเพิ่มขนมชนิดใหม่ให้เด็กได้รู้จักเพิ่มขึ้น-ใช้อะไรเป็นเกณฑ์









*ดูสาธิตการสอนของเพื่อน  เรื่องข้าว

วันที่ 2 ลักษณะของข้าว

- เด็ก ๆ รู้จักข้าวอะไรบ้างค่ะ 

วันที่ 4 การเก็บรักษา

- เด็ก ๆ เคยเห็นข้าวเก็บไว้ที่ไหนค่ะ ทำไมต้องเก็บข้าวครูเอารูปที่เก็บข้าวต่าง ๆ มาให้เด็กดู

เพิ่มเติม
-การพูด จังหวะคำ

-ลำดับเรื่อง หัวข้อ ในแต่ละวันสิ่งที่สำคัญที่สุดเป็นอันดับแรก








*ดูสาธิตการสอนของเพื่อน  เรื่องกล้วย

วันที่ 1 ชื่อของกล้วยชนิดต่าง ๆ

-เด็ก ๆ รู้จักกล้วยอะไรบ้างค่ะ
-เด็ก ๆ ทราบหรือไม่ว่าในตระกล้ามีกล้วยอะไรบ้างให้เด็ก ๆ หยิบกล้วยมาเรียงแล้วนับ,

-หยิบภาพเรียงลำดับ กล้วยทั้งหมด 9 หวี  กล้วยหอม 4 หวี กล้วยน้ำละว้า 3 หวี กล้วยไข่ 2 หวี

วันที่ 2 ลักษณะของกล้วย

- ถามคำถามเพื่อทบทวนความรู้เด็กเมื่อวานนี้ว่า เด็กรู้จักกล้วยอะไรบ้างค่ะ
- สรุปตอนท้ายด้วย My map

วันที่ 3 ข้อควรระวัง

-สร้างเรื่อง พ่อไปตัดกล้วย ใช้สอนเรื่องตำแหน่ง ทิสทาง

วันที 4 การขยายพันธ์

-แบ่งกลุ่มใช้กระดาษตัดเป็นรูปมือแต่ละแปลงห่างกัน 1 ฝ่ามือ ปลูกเว้นละยะเพื่อที่จะขยายพันธ์ แปลงใครขายพันธ์ต้นกล้วยได้มากที่สุด

เพิ่มเติม-หากเรื่องเป็นเนื้อหา ให้ใช้นิทานเป็นตัวเล่าเรื่อง

-เน้นการปฏิบัติจริง




งานที่ได้รับมอบหมาย- ให้นักศึกษาทุกคนไปอ่านงานวิจัยคนละ 1 เรื่องพร้อมสรุปลงบล็อกเกอร์



วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 8 มกราคม 2556

- ส่งดอกไม้ 3 ดอก ที่สั่งเมื่อคาบที่ผ่านมา





มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทางคณิตศาสตร์

มาตราฐานที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ >การเข้าใจถึงความหลากหลายของจำนวนและนำจำนวนไปใช้ในชีวิตจริง
-จำนวน   การนับ ค่า ตัวเลข
-การดำเนินการ วิธีการดำเนินการหรือขั้นตอนต่างๆ
มาตราฐานที่ 2 การวัด  ค่า ปริมาณ น้ำหนัก พื้นที่

มาตราฐานที่ 3 เรขาคณิต
-รูปทรงเรขาคณิต - ทรงกรวย ทรงกระบอก สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
-ตำแหน่ง - ซ้าย ขวา หน้า หลัง
-ทิศทาง - เหนือ ใต้ ออก ตก
-ระยะทาง - ตัวเลข หน่วย เครื่องมือ

มาตราฐานที่ 4 พีชคณิต-เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
-แบบรูป  การเขียนตัวอักษร การเขียนตัวเลข การประกอบรถของเล่น
-ความสัมพันธ์  ตารางสัมพันธ์ 2 แกน เป็นการเตรียมให้เด็กเรียนรู้เรื่องกราฟ

มาตราฐานที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น - รวบรวมข้อมูลและนำเสนอ
-รวบรวมข้อมูล  สถิติ

มาตราฐานที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ - นำทุกอย่างมาประยุกต์ใช้
บันทึการเรียนรู้ครั้งที่ 9
วันอังคารที่ 1มกราคม 2556

หยุดวันขึ้นปีใหม่

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2555

สอบกลางภาค


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 18 ธันวาคม 2555

*วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องด้วยอาจารย์ติดธุระ

    อาจารย์มอบหมายงานให้ทำให้เสร็จ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2555

ส่งงานเขียนแผน

-อาจารย์สอนเรื่อง

กล่องที่นำมาคนละ 1 กล่อง

 กล่องทำให้เกิดคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
-รูปทรง
-ขนาด
-ตัวเลข
-ประเภท
-จับคู่
-การวัด
-การนับ
-พื้นที่
-จำนวน-เปรียบเทียบ
-เรียงลำดับ
-ทำตามแบบ
-เศษส่วน
-การอนุรักษ์

     อาจารย์ให้จับกลุ่ม 10 คนทำกิจกรรมให้นำกล่องที่เตรียมมาของแต่ละคนมาต่อกันโดยไม่ได้มีการวางแผน แล้วอาจารย์ให้ทำใหม่เป็นให้ทุกคนวางแผนว่าจะทำอะไรกลุ่มของดิฉันทำเป็นรถถัง
ให้ทุกกลุ่มนำชิ้นงานมาจัดให้เป็นเรื่องเดียวกัน



งานที่ได้รับมอบหมาย

ให้หางานวิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ให้ตัดแกนกระดาษทิชชูทำดอกไม้





บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันอังคารที่ 4 ธันวาคม 2555

- ส่งเรียงความของกลุ่มตัวเอง- ส่งตัวแทนของแต่ละกลุ่ม  ออกมาเสนอ


- อาจารยให้แต่ละกลุ่ม แบ่งกันสอนคนละ 1 วัน

เช่น 
วันจันทร์           สอนเรื่อง   ชนิดของไข่ 
วันอังคาร         สอนเเรื่อง  ลักษณะ,พื้นผิว,ส่วนประกอบ เช่น ไข่ขาว, ไข่แดง
วันพุธ               สอนเรื่อง   ประโยชน์ในตัวของมันเองของไข่  
วันพฤหัสบดี     สอนเรื่อง   ประโยชน์ปของไข่  
วันศุกร์             สอนเรื่อง   ข้อควรระวัง  การดูแลรักษาไข่  

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน 2555

- นำเสนองานของแต่ละกลุ่ม





บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน 2555

   เพลง โปเล่ โปลา
โปเล่ โปเล่ โปลา โปเล โปเล โปลา
เด็กน้อยยื่นสองแขนมา มือซ้ายขาว ทำลูกคลื่นทะเล
ปลาวาฬ พ่นน้ำเป็นฝอย ปลาเล็ก ปลาน้อย ว่ายตาม
ปลาวาฬ นับ 1 2 3 ใครว่ายตาม ปลาวาฬจับตัว 

อาจารย์สอนเรื่อง

การเอาคณิตศาสตร์มาใช้ตรงไหนที่จะเป็นเครื่องมือในการสอน
- การนับปากเปล่า
 - ทิศทางซ้าย-ขวา
- ตำแหน่ง
- จัดทำหน่วย

ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วย(นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17-19)ดังต่อไปนี้

1.การนับ(Counting) การนับตามลำดับตั้งแต่ 1-10 หรือมากกว่านั้น
2.ตัวเลข(Number) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
3.การจับคู่(Matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่างๆเช่น จับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน
4.การจัดประเภท(Classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ
5.การเปรียบเทียบ(Comparing) เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่าเช่น ยาวกว่า สั้นกว่า
6.การจัดลำดับ(Ordering) เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่งตามคำสั่งหรือตามกฏเช่น จัดบล็อก 5 แท่ง ที่มีความยาวไม่เท่ากัน
7.รูปทรงและเนื้อที่(Shape and Space) นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรุปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตามปกติ ครูยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความลึกตื้น กว้างและแคบ
8.การวัด(Measurement) ให้รู้จักความหมายและระยะ รู้จักการชั่ง น้ำหนักและการประมาณอย่างคร่าวๆ
9.เซต(Set) เป็นการจัดกลุ่ม
10.เศษส่วน (Fraction) 
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย(Patterning) ลวดลายและพัฒนาการการจำแนกด้วยสายตา ให้เด็กฝึกสังเกตตามแบบและต่อให้สมบรูณ์
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ(Conservation) ช่วงวัย5ขวบ ให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง การอนุรักษ์ที่ว่าปริมาณของวัตถุจะต้องคงที่ไม่ว่าจะย้ายหรือทำ

  เยาวพา เดชะคุปต์(2542:87-88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่

1.การจัดกลุ่มหรือเซต สิ่งที่ควรสสอนได้แก่ การจับคู่ 1:1 การจับคู่สิ่งของ
2.จำนวน1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
3.ระบบจำนวน
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5.คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6.ลำดับ
7.การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งเป็นของเหลว สิ่งของ เงินตรา อุณหภูมิ
8.รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบ รูปร่าง ขนาด ระยะทาง
9.สถิติและกราฟ ได้แก่ การศึกษาจากการบันทึก ทำแผนภูมิ การเปรียบเทียบต่างๆ